เศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง Secrets
เศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง Secrets
Blog Article
อีกอย่างคือภาคเอกชนที่เป็นบริษัทใหญ่ๆ เขามีเงินอยู่แหละ แต่เงินลงทุนอาจจะไปที่ต่างประเทศมากกว่า เช่น จีน เวียดนาม ซึ่งก็น่าเสียดาย แต่ก็เข้าใจได้เช่นกัน เพราะนักลงทุนที่ถือเงินน่าจะอยากลงทุนในประเทศที่มีโครงสร้างพื้นฐานและระบบนิเวศดีกว่า รวมถึงมีนโยบายภาครัฐที่สดใสกว่า
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อให้เม็ดเงินรายจ่ายภาครัฐเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโดยเร็วเพื่อรักษาแรงส่งจากการใช้จ่ายภาครัฐ
ทั้งนี้ อาจลดสัดส่วนงบกลางลง ซึ่งแนวทางการกระตุ้นการลงทุนลักษณะนี้เป็นแนวทางที่รัฐบาลหลายประเทศใช้เพื่อรับมือวิกฤติเศรษฐกิจ และไทยเคยใช้ช่วงวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ และวิกฤติโควิด ซึ่งภาครัฐต้องมีบทบาทช่วงที่เครื่องยนต์การส่งออกถูกกระทบ
ทำไมคุณถึงมองไปที่รัฐวิสาหกิจมากกว่าภาคเอกชน เพราะถ้าดูแล้วภาคเอกชนน่าจะมีความคล่องตัวกว่ารัฐวิสาหกิจที่ยังติดกับกฎระเบียบบางอย่างอยู่
แนวโน้มเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีนี้ ถือว่ายังเหนื่อย เพราะมีปัจจัยเสี่ยงรออยู่เบื้องหน้า โดยเฉพาะความไม่แน่นอนทางการเมือง ที่กลับมารุนแรงขึ้นอีกครั้ง ส่งผลกระทบเชื่อมโยงกับสภาวะเศรษฐกิจในภาพรวมที่ยังไม่ได้ฟื้นตัวกลับมา ซึ่งในฐานะผู้ประกอบการเอกชน ก็ต้องพยายามประคองตัวเองเอาตัวให้รอดภายใต้ภาวะต้นทุนสูง สวนทางรายได้ ในธุรกิจ พยายามให้พนักงานที่เกี่ยวข้องลงไปพบลูกค้ารายบุคคลให้มากขึ้น เพื่อสร้างกระแสเงินสด รวมถึงพยายามลดการใช้จ่ายที่ถือเป็นต้นทุนของธุรกิจเท่าที่จะทำได้
ถ้ามุมมองเศรษฐกิจระหว่างรัฐบาลกับ ธปท. ไม่ตรงกัน หรือแม้แต่นโยบายการเงินกับการคลังไม่สอดคล้องกัน เราจะมีปัญหาเศรษฐกิจในภาพรวมไหม
ส่วนเรื่องสภาพแวดล้อม เทคโนโลยี การสื่อสาร อินเทอร์เน็ต ก็ควรเอื้อให้เขาสามารถโตขึ้นมาอย่างมีคุณภาพได้ website แต่ก็ต้องการการสนับสนุนจากภาครัฐด้วย เช่น บริการอินเทอร์เน็ตควรจะฟรีในพื้นที่ห่างไกล เพื่อให้แน่ใจว่าคนที่มีศักยภาพแต่ขาดโอกาสจะสามารถเข้าถึงได้ และสุดท้ายเขาอาจจะสร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคมบางอย่างได้ในอนาคต
การสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยวต่างชาติเพื่อช่วยขับเคลื่อนภาคการท่องเที่ยวให้ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง
แต่แน่นอน บางคนก็อาจจะไม่ได้คาดการณ์แบบนี้เพราะปัญหาหลายอย่าง ซึ่งถ้าพูดกันตามตรง เราก็ยังไม่รู้และคาดการณ์ไม่ได้ ผมว่ามันเป็นไปได้ทั้งสองฝั่งแหละ และยังมีความผันผวนสูงอยู่ด้วย
สิ่งที่ควรทบทวนคือรัฐบาลจะตั้งเป้าเพิ่มงบลงทุนอย่างไร จะชักจูงให้เกิดบรรยากาศการลงทุนอย่างไร เพราะการมีนโยบายเอื้อให้เกิดการลงทุนในเรื่องใหม่ๆ อาจจะได้ประโยชน์มากกว่ากันเยอะ ผมว่าตรงนี้รัฐบาลต้องมองให้ขาดและทำให้ขาดด้วย เพราะถ้าเราจะหวังพึ่งจากดิจิทัลวอลเล็ตอาจไม่ได้คุ้มทุนขนาดนั้น และยังต้องระวังเรื่องการขายลดคูปองอีก (นำคูปองไปขายลดราคาจากมูลค่าเพื่อแลกเป็นเงินสด) อันนี้ก็เป็นประเด็นที่พูดกันนานแล้ว แต่ผมว่ารัฐบาลก็ยังไม่มีคำตอบ
บัตรเติมเงิน บัตรเดบิต บัตรเครดิต ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
ถ้าเป็นการคาดการณ์จากฝั่งธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) การประมาณการอาจจะออกมาค่อนข้างดี เนื่องจากภาคการส่งออกเริ่มกลับมาขยายตัว เพราะเศรษฐกิจโลกไม่แย่นัก เศรษฐกิจสหรัฐฯ ถือว่ายังร้อนแรง ส่วนเศรษฐกิจจีนถึงจะมีปัญหา แต่ผมคิดว่ามันน่าจะทรงอยู่แบบนี้ ไม่แย่ลงไปกว่านี้ ถ้าโชคดีเศรษฐกิจจีนก็อาจจะดีขึ้น ส่วนเศรษฐกิจฝั่งยุโรปกับญี่ปุ่นถือว่ายังไม่เท่าไหร่นัก ส่วนในประเทศไทย ภาคการส่งออกที่เคยซบเซาน่าจะเริ่มดีขึ้น รวมถึงภาคการท่องเที่ยวด้วย
มิติ : อ่อน-แข็ง โลกสองใบของครัวเรือนฐานะการเงินอ่อนแอกับครัวเรือนฐานะการเงินเข้มแข็ง สะท้อนครัวเรือนไทยมีปัญหาความเหลื่อมล้ำเชิงความมั่งคั่งรุนแรงมาก โดยครัวเรือนที่มีฐานะการเงินอ่อนแอมีรายได้ไม่พอรายจ่าย และมีรายได้เข้ามาไม่สม่ำเสมอ เมื่อครัวเรือนที่มีฐานะการเงินอ่อนแอเผชิญสถานการณ์ที่ทำให้ขาดรายได้ โลกของครัวเรือนกลุ่มนี้จะได้รับผลกระทบมากกว่าและฟื้นตัวช้ากว่าครัวเรือนที่มีฐานะการเงินเข้มแข็ง
เรื่องที่สองคือการปรับโครงสร้าง ที่แม้จะเห็นผลช้า แต่ต้องยิ่งทำให้เร็ว ผมว่าเราต้องปรับโครงสร้างหลายเรื่อง อย่างเรื่องที่ว่าเราไม่ได้ลงทุนและไม่มีอุตสาหกรรมเพราะต้องใช้เทคโนโลยีสูง คำถามคือเรามีเทคโนโลยีนั้นไหม ถ้าไม่มีเรานำเข้าได้ไหม ที่สำคัญกว่านั้นคือเรามีทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเพียงพอที่จะทำงานควบคู่กับเทคโนโลยีใหม่นั้นได้หรือไม่